หน้าหลัก

รศ.ยุพา ถาวรพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ยุพา ถาวรพิทักษ์

1. ประวัติการศึกษา

1) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2521

2) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์) (เกียรตินิยมดี) จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2529


3) การศึกษาหรืออบรม หรือวิทยฐานะ ทางวิชาการอื่น ๆ

- Second Course in Advanced Community Health Research Methodology Yogyakata Indonesia 1989.

4) รางวัล เกียรติคุณ ฯลฯ ทางการศึกษาที่เคยได้รับ

- รางวัลเหรียญเรียนดี ปีการศึกษา 2519 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

- รางวัลเรียนดีเยี่ยม  ปีการศึกษา 2528 จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

2. ผลงานทางวิชาการ

2.1 ผลงานวิจัย เคยตีพิมพ์ ผลงานวิจัย รวมทั้งสิ้น  3  เรื่อง

2.1.1 อรุณ จิรวัฒน์กุล, และคณะ. ความถูกต้องของการสอบถามแม่แทนในเรื่องการเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัว. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข ครั้งที่ 1 : สุดยอดแห่งอำนาจ.

2.1.2 บัญชร แก้วส่อง และคณะ.  การประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุข ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1. มกราคม-มิถุนายน 2537.

2.1.3 Verajit Chotmongkol et. al., Corticosteroid in Tuberculous Meningitis. Journal of medical association Thailand. Volum.79. No.2. 1996.

2.2  ตำรา, เคยแต่งหรือเคยร่วมแต่งตำรา รวมทั้งสิ้น 1 เล่ม ระบุชื่อตำราที่สำคัญ และปีที่ตีพิมพ์

2.2.1 ชีวสถิติ, 2534.

2.3 บทความทางวิชาการที่สำคัญๆ

2.3.1 จันทร์ฉาย ศิริชาติวาปี, กิ่งแก้ว เกษโกวิท, วีระศักดิ์ ชายผา และยุพา ถาวรพิทักษ์. การรับรู้อาการกามโรคและการแสวงหาการรักษาพยาบาลเมื่อมีอาการสงสัยว่าจะเป็นกามโรคของหญิงบริการทางเพศในเขตเทศบาลนครขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา. ปีที่ 2. ฉบับที่ 1. มกราคม-มิถุนายน 2545. หน้า 27-36.

2.3.2 จันทรา แทนสุโพธิ์, กิ่งแก้ว เกษโกวิท, ยุพา ถาวรพิทักษ์ และชัยยง ขามรัตน์. ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับคุณภาพชีวิตการทำงานของทีมสุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา. ปีที่ 2. ฉบับที่ 2. กรกฎาคม-ธันวาคม 2545. หน้า 23-31.

2.3.3 ประทีป กาลเขว้า, วิทัศน์ จันทรโพธิ์ศรี, กิ่งแก้ว เกษโกวิท และยุพา ถาวรพิทักษ์. การรักษาอาการปวดเมื่อยด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นในกลุ่มผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลชุมแพ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา. ปีที่ 3. ฉบับที่ 2. กรกฎาคม-ธันวาคม 2546. หน้า 115-125.

2.3.4 ยุพิน ชัยเวชสกุล และยุพา ถาวรพิทักษ์. การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับเพื่อการควบคุมคุณภาพงานในโรงพยาบาล. วารสารเครือข่ายการจัดการข้อมูลทางสถิติ (DMBN)e-journal  http://www.crcn.in.th/). ปีที่ 1. ฉบับที่ 1. มีนาคม 2548. หน้า 8-12.

2.3.5 ยุพา ถาวรพิทักษ์ และอรุณ จิรวัฒน์กุล. ความถูกต้องของการตรวจวินิจฉัยใหม่เมื่อไม่มีวิธีการวินิจฉัยมาตรฐาน. วารสารเครือข่ายการจัดการข้อมูลทางสถิติ (DMBN e-journal http://www.crcn.in.th/). ปีที่ 1. ฉบับที่ 1. มีนาคม 2548. หน้า 18-23.

2.3.6 กิ่งแก้ว เกษโกวิท, ยุพา ถาวรพิทักษ์, วิทัศน์ จันทรโพธิ์ศรี, ประเสริฐ ถาวรดุลย์สถิตย์, พรทิพย์ คำพอ, พรวิภา ดีศรี, วงศา เลาหศิริวงศ์, สุวิทย์ อินนามมา และศิขิน รัตนทิพย์. ภูมิปัญญาชาวบ้านที่ยังคงสืบทอดในด้านการกินอาหารของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในเขตอำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น. วารสารศรีนครินทร์เวชสาร. ปีที่ 20. ฉบับที่ 2. เมษายน-มิถุนายน 2548. หน้า 70-77.

2.3.7 จันธิมา วิไพบูลย์, กิ่งแก้ว เกษโกวิท และยุพา ถาวรพิทักษ์. ความพึงพอใจในบริการของผู้มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลโนนสะอาด อำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี. วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา. ปีที่ 5. ฉบับพิเศษ 2548. หน้า 159-171.

2.3.8 กฤตยา แสวงเจริญ, นีออน พิณประดิษฐ์, ภัณฑิลา อิฐรัตน์, ยุพา ถาวรพิทักษ์ และศิริพร คำสะอาด. การรับรู้เกี่ยวกับความรักและความต้องการทางเพศของวัยรุ่น. วารสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 28. ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม). 2548.

3. สรุปตำแหน่งบริหารที่สำคัญ

-  พ.ศ. 2537-2540  ตำแหน่ง รองหัวหน้าภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

-  พ.ศ. 2540-2541  ตำแหน่ง รองหัวหน้าภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

-  พ.ศ.2541-2545  ตำแหน่ง รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

-  พ.ศ. 2546-2547  ตำแหน่ง รองหัวหน้าภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

-  พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน  ตำแหน่ง รักษาราชการแทนหัวหน้าภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

..............................................................................................................................................................................